วันพุธที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2559

การบันทึกครั้งที่ 13

วันจันทร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 

เนื้อหาที่เรียน  ความรู้ที่ได้รับ
          กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้ อาจารย์ให้นักศึกษานั่งเป็นวงกลม อาจารย์พาร้องเพลงและให้นักศึกษาทำท่าประกอบตามเพลงรำวงไปเรื่อยๆ พอเพลงหยุดอาจารย์สั่งให้จับกลุ่ม ตามจำนวนที่อาจารย์บอกและทำกิจกรรมต่อไป





        อาจารย์ให้นักศึกษานั่งตามกลุ่มของตนเองพร้อมทั้งแจกกระดาษเอสี่ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มโดยให้ช่วยกันระดมความคิดแต่งนิทาน 1 เรื่อง โดยในนิทานนั้นจะต้องมีสิ่งที่ไม่มีชีวิตสามารถพูดได้ แล้วออกมา เเสดงหน้าชั้นเรียน

 
กลุ่มที่ 1 เรื่อง ฉันอยากเดินได้





กลุ่มที่ 2 เรื่อง ยีราฟผู้กระหายน้ำ





กลุ่มที่ 3 เรื่อง ป่ามหัศจรรย์




กลุ่มที่ 4 เรื่อง เพื่อนรัก






 กลุ่มที่ 5 เรื่อง เจ้าหญิงกบ



 

       กิจกรรมต่อมา อาจารย์ให้นักศึกษายืนเป็นวงกลมพร้อมทั้งรำวงไปเรื่อย ๆ เพื่อจับกลุ่มใหม่ โดยแต่ละคนห้ามอยู่กับเพื่อนกลุ่มเดิมและเริ่มทำกิจกรรมต่อมา คือ อาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มช่วยกันคิดเพลงพร้อมทั้งเครื่องดนตรีจากส่วนต่างๆของร่างกายเรา เครื่องดนตรีต้องไม่ซ้ำกัน





ความรู้ที่ได้รับและการนำไปประยุกต์ใช้
      นำความรู้ที่ได้ไปจัดกิจกรรมให้กับเด็ก โดยให้เด็กได้ใช้ความคิดเเละออกเเบบตามจินตนาการของเด็กเอง 

ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียนในขณะที่อาจารย์สอนและร่วมทำกิจกรรมกับเพื่อนๆ
ประเมินเพื่อน : เพื่อน ๆ ตั้งใจเรียนและไม่คุยกันในเวลาเรียน
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ เตรียมการสอนมาดีมาก นำกิจกรรมมาให้เด็กได้ทำกัน





การบันทึกครั้งที่ 12

วันจันทร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 

เนื้อหาที่เรียน  ความรู้ที่ได้รับ

       อาจารย์ทบทวนความรู้เรื่องของความคิดสร้างสรรค์ตั้งแต่แรกที่เรียนมา

***ความคิดสร้างสรรค์ เริ่มต้นจากการมีประสบการณ์ ประสบการณ์มีผลต่อจินตนาการและความคิดของเด็ก***

- การจินตนาการ คือ การเทียบเคียงในสิ่งที่เราเห็น
- ความคิดสร้างสรรค์ทางภาษา เมื่อ เด็กรู้คำศัพท์เยอะก็จะเป็นต้นทุนสำหรับเด็กเยอะ
- ความคิดสร้างสรรค์ตามความเคลื่อนไหว เช่น การเต้นแอโรบิค คือ การใช้เพลงเป็นจังหวะ การเต้นประกอบเพลง คือ การใช้ท่าทางตามจินตนาการ เช่น การเล่าเรื่องราว แสดงท่าทางตามคำบรรยาย

กิจกรรมต่อมาอาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มออกแบบกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ แล้วนำเสนอหน้าชั้นเรียน

การเคลื่อนไหวมี 2 แบบ คือ เคลื่อนที่ และ ไม่เคลื่อนที่หรืออยู่กับที่
- เคลื่อนที่  คือ มีอุปกรณ์ กับ ไม่มีอุปกรณ์
- ไม่เคลื่อนที่หรืออยู่กับที่  คือ มีอุปกรณ์ กับ ไม่มีอุปกรณ์    

การเคลื่อนไหวและจังหวะที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
1. การเคลื่อนไหวประกอบเพลง เช่น การเต้นแอโรบิค
2. การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย เช่น การสร้างสรรค์ด้วยคำพูดและท่าทาง จากจินตนาการของเด็ก
3. การเคลื่อนไหวตามคำสั่ง เช่น การสร้างสรรค์เรื่องการเปลี่ยนทิศทาง
4. การเคลื่อนไหวแบบผู้นำผู้ตาม เช่น การให้เด็กออกมาเป็นผู้นำแล้วให้เพื่อนทำตาม
5. การเคลื่อนไหวตามความจำ เช่น การสร้างสรรค์ไปตามมุมต่างๆ ตามที่ครูกำหนดให้
6. การเคลื่อนไหวตามข้อตกลงหรือการเคลื่อนไหวแบบพื้นฐา







 การเคลื่อนไหวตามข้อตกลง





การเคลื่อนไหวประกอบเพลง






การเคลื่อนไหวแบบผู้นำผู้ตาม




การเคลื่อนไหวตามคำบรรยาย




การเคลื่อนไหวตามความจำ




การเคลื่อนไหวประกอบอุปกรณ์



ความรู้ที่ได้รับและการนำไปประยุกต์ใช้

        จัดกิจกรรมความคิดสร้างสรรค์เชื่อมโยงกับกิจเคลื่อนไหวให้กับเด็กในอนาคตได้  สามารถให้เด็กออกเเบความคิดการเคลื่อนไหวท่าทางของเด็กเอง

ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียนในขณะที่อาจารย์สอนและร่วมทำกิจกรรมกับเพื่อนๆ
ประเมินเพื่อน : เพื่อน ๆ ตั้งใจเรียนและไม่คุยกันในเวลาเรียน
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ เตรียมการสอนมาดีมาก การเรียนเป็นไปอย่างเป็นลำดับขั้นตอน มีเทคนิคการสอนที่น่าสนใจ สามารถอธิบายและยกตัวอย่างให้นักศึกษาได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น

การบันทึกครั้งที่ 11

วันจันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ.2559 

ขาดเรียน

ลอกข้อมูลมาจาก  นางสาวเรณุการ  บุญประเสริฐ


เนื้อหาที่เรียน  ความรู้ที่ได้รับ

กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้ อาจารย์ให้นักศึกษาแต่ละคนนำเสนอสิ่งประดิษฐ์ของตนเอง

การทดลอง

1. โฮโรแกรมสามมิติ






2. เตาอบป๊อบคอร์น



3. รถขับเคลื่อนด้วยหนังยาง




สิ่งประดิษฐ์
4. เตาปิ้งแบบพกพา


5. โคมไฟจากขวดน้ำ



6. อ่างล้างจาน (สามารถเข้ามุมบทบาทสมมติได้)


7. เตาแก๊ส (สามารถเข้ามุมบทบาทสมมติได้)


8. หมวกจากกล่องนม


9. ตะกร้าจากกล่อง


10. เครื่องคิดเงินหรือแคชเชียร์ (สามารถเข้ามุมบทบาทสมมติได้)


11. ถังขยะจากขวดน้ำ


12. สานเสื่อจากกล่อง


13. บัวรดน้ำจากกระป๋อง


14. กล่องดินสอจากขวดพลาสติก


15. โต๊ะจากกล่อง


16. ตู้ลิ้นชักใส่ของ


17. กระเป๋าจากกล่อง <ดิฉันเอง>


18. ร้อยเชือกรองเท้า


19. ที่ทำความสะอาดรองเท้า


20. ฝาชีจากขวดน้ำ


21. ที่คาดผมจากฝาขวดน้ำ


22. ตู้เย็นจากขวด


23. เคสโทรศัพท์

กิจกรรมต่อมา อาจารย์ให้ตั้งประเด็นปัญหาจากสิ่งที่เราประดิษฐ์
เช่น จะทำอย่างไรให้เห็นสิ่งต่างๆ ได้ชัดเจนจากวัสดุเหลือใช้>>แว่นขยายจากขวดน้ำ>>ขั้นตอนในการทำ เป็นต้น
***ส่วนของดิฉัน คือ ถ้าเราไม่มีที่ใส่ของเราจะทำอะไรได้บ้าง จากเศษวัสดุเหลือใช้ ?
ทำกระเป๋าจากกล่อง >> ขั้นตอนในการทำ
การตั้งประเด็นปัญหา มี 2 แบบคือ
1. ตั้งปัญหา 
2. ตั้งเป้าหมาย 


กิจกรรมสุดท้ายของวันนี้คือ อาจารย์ให้ทำงานกลุ่มตัวเลขให้เสร็จ เพื่อเตรียมตัวส่งในสัปดาห์หน้า

บรรยากาศในการทำของแต่ละกลุ่ม

กลุ่มของดิฉันทำนิทานตัวเลข















ความรู้ที่ได้รับและการนำไปประยุกต์ใช้
สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปจัดประสบการณ์ความคิดสร้างสรรค์ให้กับเด็กได้ โดยการให้เด็กประดิษฐ์สิ่งของสร้างสรรค์ เพื่อให้เด็กได้มีโอกาสคิดริเริ่มด้วยตนเอง นำไปสู่ความคิดคล่องแคล่ว ความคิดยืดหยุ่น และความคิดละเอียดละออได้

การประเมินผล
ประเมินตนเอง : ตั้งใจเรียนในขณะที่อาจารย์สอนและตั้งใจทำงานกลุ่มเป็นอย่างดี
ประเมินเพื่อน : เพื่อน ๆ ตั้งใจเรียนและไม่คุยกันในเวลาเรียน
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์ เตรียมการสอนมาดีมาก การเรียนเป็นไปอย่างเป็นลำดับขั้นตอน มีเทคนิคการสอนที่น่าสนใจ สามารถอธิบายและยกตัวอย่างให้นักศึกษาได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น